แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL ( Problem Based Learning )
หน่วย ผักชวนชิม ระดับชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 2 (Quarter 3) ปีการศึกษา 2558
หน่วย : ผัก…..
คำถามหลัก ( Big Question) : ผัก
มีประโยชน์ และ ความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นๆอย่างไร?
ภูมิหลังที่มาของปัญหา ปัจจุบันเด็กจะชอบรับประทานอาหารแปรรูป
อาหารสำเร็จรูปมากขึ้นอาจจะเนื่องด้วยความเร่งรีบและความสะดวกสบายของพ่อ แม่
ทำให้เด็กส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก
ซึ่งผักเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะในเรื่องของระบบขับถ่าย
ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ช่วยสร้างภูมิต้านทานและป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ
แต่ด้วยในปัจจุบันผักกลับมีความปลอดภัยน้อยลง เนื่องจากมีการใช้สารเคมีกำจัดแมลงและศัตรูพืชในการเพาะปลูก
ซึ่งก่อให้เกิดสารพิษตกค้างส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับสารพิษตกค้างเกิดการสะสมในร่างกายส่งผลต่อปัญหาสุขภาพในอนาคต
ดังนั้นนักเรียน ครู ผู้ปกครอง
จึงจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงการผลิตหรือการเพาะปลูกผักที่ปลอดสารพิษ รวมทั้งการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อร่างกายจนสามารถเป็นผู้ผลิตและประกอบอาหารเพื่อรับประทานได้เอง
เป้าหมายของความเข้าใจ ( Understanding Goal )
:
นักเรียนเข้าใจความสำคัญและเห็นคุณค่าของผัก ตลอดจนเลือกรับประทานและผลิตอาหารให้ปลอดภัย อีกทั้งสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
ตารางเชื่อมโยงพัฒนาการ
4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
ด้านอารมณ์ – จิตใจ
|
ด้านสังคม
|
ด้านสติปัญญา
|
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และใช้ทุกส่วนของร่างกายให้สอดประสานสัมพันธ์กันในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้อย่างเหมาะสม
รวมทั้งมีสุขภาพที่ดี
|
เห็นคุณค่าความสัมพันธ์
ความเชื่อมโยงของผักที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งมีชีวิตอื่นตลอดจนมีจิตสำนึกที่ดีและเห็นคุณค่าของสิ่งมีชีวิตอื่นๆที่อยู่รอบตัว
|
เข้าใจและเรียนรู้การแบ่งปัน
ช่วยเหลือผู้อื่น มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม
ตลอดจนสามารถดำรงชีวิตร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้อย่างเหมาะสม
|
เข้าใจความหมายของสิ่งมีชีวิต
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ตลอดจนมีจิตสำนึกที่ดี
เห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆรอบตัว
|
ปฏิทินการเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ
PBL
(Problem Based
Learning)
หน่วย :
“ ผักปลอดภัย”
ระดับชั้นอนุบาล 1 (Quarter 3) ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์:
ปลูกผัก
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้
- ทบทวนวิถี
Key Question
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรใน Quarter นี้“ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น”
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard Share
: สิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง เมล็ดแครอต,ต้นเอ๋ยต้นไม้
- แปลงผัก
|
- ครูทบทวนวิถีให้กับนักเรียน
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจพืชผักและชิมผักแต่ละชนิดที่พบ สังเกตสิ่งมีชีวิตและสิ่งต่างๆบริเวณภายในโรงเรียน
- ครูเล่านิทานเรื่องเมล็ดแครอต
- ครูนำผักมาให้นักเรียนสังเกตเช่น
ถั่วงอก ผักบุ้ง
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ต้นเอ๋ยต้นไม้” เพื่อเชื่อมโยงถึงระยะเวลาการเจริญเติบโตของพืช
- นักเรียนนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ให้เพื่อนและครูฟัง
|
ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับการเดินสำรวจรอบๆโรงเรียน และทบทวนวิถี
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเรื่อง “เมล็ดแครอต, ต้นเอ๋ยต้นไม้”
- ลงมือปลูกผักร่วมกัน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียนอนุบาล 1
- Show
and Share ภาพวาดสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพผักผลไม้ที่นักเรียนชอบ
- วาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
- วาดภาพสิ่งที่นักเรียนอยากเรียนรู้
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
|
โจทย์ :
เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key Questions
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร? ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?
- นักเรียนรู้อะไรและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับผัก?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นชื่อหน่วย
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
Card &
Chart : เรื่องที่รู้แล้วและเรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard Share :
- แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการตั้งชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and
Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศภายในบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อไม้เลื้อยหาบ้าน
- แปลงผัก
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจแปลงผักภายในบริเวณโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “กินผักผลไม้”
- ครูเล่านิทาน เรื่อง “ไม้เลื้อยหาบ้าน
” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องของผักมากขึ้น
- ครูนำผักบุ้งมาให้นักเรียนสังเกต
-
Show and Share
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้และตั้งชื่อหน่วยร่วมกัน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเรื่อง “ไม้เลื้อยหาบ้าน”
- ทดลองปลูกผัก
- นำเสนอชนิดของผักและสิ่งที่ได้เรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพผักหรือสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
วาดภาพอุปกรณ์ในการปลูกผัก
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
|
โจทย์ :
การงอก/โครงสร้าง
- พืช
- สัตว์
- คน
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าการงอกเกิดขึ้นได้อย่างไร/เพราะเหตุใด
โครงสร้างของผัก และสิ่งมีชีวิตอื่นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยการงอกและโครงสร้างของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประกอบของผัก
Wall Thinking :
- web ผักที่นักเรียนรู้จัก
- web ส่วนประกอบของผัก
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทาน เรื่อง “หนูอยากกลับไปอยู่ในท้องแม่ / หญ้ามหัศจรรย์”
- แปลงผักที่ตึกอนุบาล
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสังเกตการงอกของผักที่ปลูกไว้
- ครูเล่านิทาน “หนูอยากกลับไปอยู่ในท้องแม่”
- ครูเล่านิทาน “หญ้ามหัศจรรย์”
เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงถึงประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
- ครูและนักเรียนสังเกตแปลงผักที่ปลูกไว้
เพื่อให้นักเรียนได้เชื่อมโยงถึงหน้าที่ของผักแต่ละชนิด
- Show and Share
|
ภาระงาน
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแปลงผักที่ปลูกไว้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชนิดของผัก สี กลิ่น รส
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประกอบของผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโรงสร้างของผักและสิ่งมีชีวิตอื่น
- Show and Share
ชิ้นงาน
- วาดภาพการงอกของผัก
- วาดส่วนประกอบของผัก
- แตก web ส่วนประกอบของผัก
- ปะติดภาพรูปผัก
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
|
โจทย์ : เพาะปลูก
การขยายพันธุ์
- เมล็ด
- ต้น
- หัว
- แยกหน่อ
ฯลฯ
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าพืชผักชนิดต่างๆมีการขยายพันธุ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
-นักเรียนคิดว่าปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ผักเจริญเติบโตได้
-ถ้าไม่มีน้ำและดินจะสามารถปลูกผักได้หรือไม่
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
-ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปลูกและการขยายพันธุ์ผัก
Think Pair
Share: การเพาะปลูก/การขยายพันธุ์
Wall
Thinking :
- วาดภาพส่วนต่างๆของผัก
-
แตก web ขั้นตอนการขยายพันธุ์ผัก
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
- นิทานเรื่องหัวผักกาดยักษ์
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูเล่านิทาน “มหัศจรรย์วันของหนู” เพื่อเชื่อมโยงถึงการกำเนิดของคน
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจแปลงผักรอบๆโรงเรียนและแปลงผักที่ปลูกไว้ข้างตึกอนุบาล
- ครูเปิดคลิปวิดีโอให้นักเรียนดู “การเกิดของสิ่งมีชีวิต”
- ครูเชิญวิทยากร ผู้ปกครองของน้องอุ้มมาให้ความรู้เรื่องการเพาะปลูกผัก
- Show and Share
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ นิทานการกำเนิดของคน
- แสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปวิดีโอกำเนิดสิ่งมีชีวิต
- แสดงความคิดเห็นจากการเดินสำรวจบริเวณแปลงผักอนุบาล
- แสดงความคิดเห็นในการออกแบบแปลงผัก
- ร่วมกันปลูกผัก
ชิ้นงาน
- แตก web การเจริญเติบโตและการขยายพันธุ์ผัก
- วาดภาพการปลูกผัก
- วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวิดีโอการขยายพันธุ์ผัก
- ปั้นดินน้ำออกแบบแปลงผักเป็นกลุ่ม
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
|
โจทย์ :
การดูแลรักษา/การเจริญเติบโต
Key
Questions
-นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาและการเจริญเติบโตของผักได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาและการเจริญเติบโตของผัก
Think Pair
Share: ประโยชน์และโทษของผัก
Blackboard Share : การประกอบอาหารเมนู “ผัดผักบุ้ง”
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน “อาบน้ำสนุกจัง”
- แปลงผัก
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ผักเสี้ยนวิเศษ” เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงถึงการดูแลรักษาและการเจริญเติบโต
- ครูเล่านิทาน “อาบน้ำสนุกจัง ” เพื่อเชื่อมโยงเกี่ยวกับการดูแลรักษาร่างกาย และสิ่งมีชีวิตอื่น
- ครูเล่านิทานเรื่อง “อาหารที่เรากินไปไหน”
เพื่อเชื่อมโยงถึงการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
- ครูเล่านิทานเรื่อง “มดน้อยแสนขยัน” เพื่อเชื่อมโยงถึงการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
- Show and Share
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาผัก และการดูแลรักษาร่างกายตัวเอง
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโรคของพืช
- การนำเสนอชิ้นงาน web การดูแลรักษาผัก
ชิ้นงาน
- แตก web การดูแลรักษาผัก
- ทำกระทงจากวัสดุธรรมชาติ
- ปั้นดินน้ำมันการแสดงการเจริญเติบโตของผัก
- นักเรียนต่อเติมภาพผักตามจินตนาการ
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
6
|
โจทย์ :
ประโยชน์และโทษ
Key
Question
-นักเรียนคิดว่าผักมีประโยชน์และโทษต่อเรา และสิ่งมีชีวิตอื่นหรือไม่ เพราะเหตุใด?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของผัก
Think Pair
Share: ประโยชน์และโทษของผัก
Blackboard Share : การประกอบอาหารเมนูจากผัก
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน เรื่อง “มะละกอข้างครัว / อาหารวิเศษ”
- คลิปวิดีโอประโยชน์ของ สิ่งมีชีวิต
- แปลงผัก
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูเปิดคลิปวิดีโอประโยชน์ของ สิ่งมีชีวิตให้นักเรียนดู เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของผัก
- ครูเล่านิทานเรื่อง “มะละกอข้างครัว” เพื่อให้นักเรียนได้เชื่อมโยงถึงประโยชน์ของผัก
- ครูและนักเรียนแบ่งกลุ่มเล่นเกม “ตามหาผัก”
- ครูเล่านิทานเรื่อง”อาหารวิเศษ” และครูกระตุ้นด้วยคำถาม
- Show and Share
|
ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของผักรวมทั้งเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน
- ร่วมเล่มเกม “ตามหาผัก”
ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน web ประโยชน์/โทษของผัก
-พิมพ์ภาพจากผักชนิดต่างๆ
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
7
|
โจทย์ :
ประกอบอาหารจากผักที่ปลูกเอง
Key
Question
-นักเรียนคิดว่าผักที่ปลูกไว้นำมาประกอบอาหารได้ทุกส่วนหรือไม่ เพราะเหตุใด?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหาร
Think Pair
Share: ;วิธีการประกอบอาหาร
Blackboard Share : วิธีการประกอบอาหารเมนูจากผัก
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “หิวจัง หิวจัง / อาหารกลางวัน / เมืองอาหารดี”
- เพลง “กินผักผลไม้”
- อุปกรณ์ในการประกอบอาหารเมนูผัดผักบุ้ง
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “หิวจัง หิวจัง”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “อาหารกลางวัน”
เพื่อให้นักเรียนได้เชื่อมโยงเกี่ยวกับการนำผักมาประกอบอาหาร
- ครูเล่านิทานเรื่อง “เมืองอาหารดี”
เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงถึงอาหารที่หลากหลาย
- ครูและนักเรียนสังเกตแปลงผักที่ปลูกไว้
-
Show and Share
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชน์ของผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำผักมาทำอาหาร
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวัตถุดิบในการทำอาหาร
- Show and Share
ชิ้นงาน
- แตก web การดูแลรักษาผัก
- แตก web วัตถุในการทำอาหาร
- วาดภาพอาหารที่ชอบ
- ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปอาหารที่ทำจากผัก
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
8
|
โจทย์ :
วัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
Key
Question
นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตคน พืช และสัตว์ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเกี่ยวกับวัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
Blackboard Share : แตก web วัฏจักรห่วงโซ่อาหารสิ่งมีชีวิต
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง”แกะรอยสัตว์จอบเขมือบ / หนอนจอมเขมือบ”
- คลิปวิดีโอวัฏจักรสิ่งมีชีวิต
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูเปิดคลิปวิดีโอวัฏจักรของห่วงโซอาหารของสิ่งมีชีวิตให้นักเรียนดู เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับวัฏจักรและความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
-
ครูและนักเรียนเดินสำรวจแปลงผักรอบๆโรงเรียนและแปลงผักที่ปลูกไว้
- ครูเล่านิทาน “ แกะรอยสัตว์จอมเขมือบ ” เพื่อเชื่อมโยงเกี่ยววัฏจักรของห่วงโซ่อาหารสิ่งมีชีวิตอื่น
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ หนอนน้อยจอมเขมือบ ” เพื่อเชื่อมโยงถึงวัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
- Show and Share
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจ
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทาน
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวิดีโอ
- Show and Share
ชิ้นงาน
-
แตก web ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
-
วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวิดีโอ
- ปั้นดินน้ำมัน
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
-นิทรรศการ
-แสดงละคร
-เพลง
Key Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “ผักปลอดภัย”
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “ผักปลอดภัย”ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ หน่วย “ ผักปลอดภัย ”
Wall Thinking :
ใบงานเขียน Mind Mapping
สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “ ผักปลอดภัย”
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
- นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย“ผักปลอดภัย”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “
นักเรียนได้จะช่วยกันจัดนิทรรศการแสดงผลงานภายใน Quarter นี้?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“กินผักผลไม้”
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “ผักปลอดภัย” ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม“นักเรียนจะเป็นผู้นำเสนองานที่ดีอย่างไร
เพื่อให้ผู้อื่นที่มาชมได้รับความเข้าใจกลับไป?”
|
ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผัก
-การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “ผักปลอดภัย” ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ชิ้นงาน
-ใบงาน
-ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Q.3
|
ความรู้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
หน่วย “ ผักปลอดภัย ” ระดับชั้นอนุบาล 1
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1.
สร้างแรงบันดาลใจและสร้างฉันทะการเรียนรู้
- ปลูกผัก
- ทบทวนวิถี
2. เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
3. การงอก/โครงสร้าง
- พืช
- สัตว์
- คน
4. เพราะปลูก/การขยายพันธุ์
- เมล็ด
- ต้น
- หัว
- แยกหน่อ
ฯลฯ
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้, สีเทียน,
เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี
พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปหยดน้ำสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ,
เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย
สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 รักการออกกำลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้
ตัวบ่งชี้ที่7.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 มีความกตัญญูกตเวที
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Share ผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด
การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
|
||
ด้านอารมณ์และจิตใจ
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ เช่น
การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
|
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
|
5. การดูแลรักษา/การเจริญเติบโต
- รดน้ำ
- พรวนดิน
- ใส่ปุ๋ยคอก/ปุ๋ยหมัก
- กำจัดศัตรูพืช
6. ประโยชน์และโทษ
- คน
- พืช
- สัตว์
7. ประกอบอาหาร
8. วัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
- คน
- พืช
- สัตว์
9. ความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
- คน
- พืช
- สัตว์
- สิ่งแวดล้อม
10.
สรุปองค์ความรู้
-
นิทรรศการ
- แสดงละคร
- เพลง
|
-
ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่
มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
-
ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
-
ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 สนใจและกระตือรือร้นในการทำงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ทำงานจนสำเร็จและภูมิใจในผลงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
มาตรฐานที่ 6ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และสนุกกับการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
-
ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
-
ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู
เพื่อนและผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
-
ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
-
ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
-
ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
|
|||
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
|
เกี่ยวกับน้ำ
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
-
ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
-
ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
|
||
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 มีจินตนาการ และ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีทักษะในการสื่อสาร
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 มีทักษะในการสังเกตและสำรวจ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.5 มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์
ตัวบ่งชี้ที่ 5.6 มีทักษะในเรื่องจำนวน ปริมาณ น้ำหนัก และการกะประมาณ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.7 เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 รู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “ผักปลอดภัย” กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
- พับกระดาษ
- ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
- ประกอบอาหาร
- เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
-
เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา
เกมการละเล่น เช่น การโยน-รับลูกบอล เป็นต้น
- การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น
เคลื่อนไหวประกอบเพลง
ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน
การวิ่ง การกระโดด
- การดึง
การดัน การจับ การขว้าง
การเตะ
- การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อย
- การต่อบล็อก
- การระบายสี
- การติดกระดุม
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม
กีฬา เช่น การรับ-การโยน
- การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย
การสวมใส่รองเท้า ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง
การท่องคำคล้องจอง
การทำท่าทางประกอบ
- การฟังนิทาน
การเล่านิทาน
- การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู
เล่นเครื่องเล่น ฯลฯ
- การเล่น
การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน
การรอคอย
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ
- การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การรู้บทบาทหน้าที่
- ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
-
การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
- การใช้ภาษาสื่อความหมาย และความคิด
- การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น สี
ขนาด รูปร่าง เป็นต้น
- การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ รอบตัว
- การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ได้แก่
ตา หู จมูก
ลิ้น และผิวหนัง
- การสนทนาถาม-ตอบ
- การอธิบาย
การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- เกมการศึกษา
- การทดลอง
ฯลฯ
|
||
เชื่อมโยงหน่วย “ผักปลอดภัย” กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น
เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง
คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
-
อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที
ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- ก่านสะกดคำง่ายๆ เช่น
แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก
การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง
- การจัดหมวดหมู่
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่ง
- เข้าใจระยะ
- การเข้าใจทิศทาง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญญา
ทักษะการใช้ภาษา
/ การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น
Sitdown
, Stan up เป็นต้น
- ฟัง
เข้าใจความหมาย
สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name ?
My name is…….. What
is this ? It’s
a…………….
What
do like ? I
like ……………
- ร้องเพลง
เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เกี่ยวกับอวัยวะ
เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต
ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
-
อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน
A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น